หน้าหลัก ค้นหา ติดต่อ สมุดโทรศัพท์ การเรียน/การสอน เหตุการณ์ แผนที่เว็บ Thai/Eng
MCU

หน้าหลัก » พระวุฒิชัย ฐิตโสภโณ (วุฒิกร)
 
เข้าชม : ๑๖๗๕๙ ครั้ง
การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนมัธยมเขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร เขต ๑
ชื่อผู้วิจัย : พระวุฒิชัย ฐิตโสภโณ (วุฒิกร) ข้อมูลวันที่ : ๒๐/๐๙/๒๐๑๓
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(พระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ :
  รศ.ดร.ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม, พธ.บ. M.Ed., M.Phil., Ph.D.
  ผศ.ดร.สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย พธ.บ., M.Ed., Ph.D.
  ผศ.ดร.ชวาล ศิริวัฒน์ พธ.บ., M.A., M.Ed., Ph.D.
วันสำเร็จการศึกษา : ๒๕๕๖
 
บทคัดย่อ

 

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์   คือ ๑.  เพื่อศึกษาบทบาทของคร ู พระสอนศีลธรรมที่ มี ต่อกา ร

ส่งเสริมจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา   :  กรณีศึกษา โรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษ า

กรุงเทพมหานคร เขต ๑    ๒.  เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อบทบาทของครูพระสอนศีลธรรมที่มีต่อการ

ส่งเสริมจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา   :  กรณีศึกษาโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

กรุงเทพมหานคร เขต ๑ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล  ๓.  เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทาง

การพัฒนาบทบาทของคร ู พระสอนศีลธรรมที่มีต่อการส่งเสริมจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา   :

กรณีศึกษาโรงเรียนในเขตพื้ที่การศึกษามัธยมศึกษา  กรุงเทพมหานคร  เขต ๑

กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนทั้งหมดจำนวน ๑๔๔ รูป เก็บรวบรวมข้อมูล

โดยใช้แบบสอบถาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น และวิเคราะห์ หาค่าสถิติ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์

หาค่าควาถีร้อยละ  ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการทดสอบค่าเอฟ   (f-test)   ผลการวิ จัยพบว่า

๑. ครูพระสอนศีลธรรมมีความคิดเห็นต่อ บทบาทของครู พระสอนศีลธรรมที่มี ต่อการส่งเสริม

จริยธรรมในโรงเรียนโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุดมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๕๕ เมื่อพิจารณาเป็นราย

ด้านพบว่าด้านการสอนการอบรมทางจริยธรรม  ด้านการสนับสนุนกิจกรรมทางจริยธรรม  ด้านการให้

(ข)

คำแนะนำปรึกษาทางจริยธรรม และด้านการเป็นสื่อกลางระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ก็มีความคิดเห็นอยู ่

ในระดับมากที่สุดทุกด้านเช่นเดียวกัน

๒. ครูพระสอนศีลธรรมที่ มี อายุ ต่างกัน มี ความคิดเห็นต่อบทบาทของครู พระสอนศี ลธรรมที่มี

ต่อการส่งเสริมจริยธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา  โดยภาพรวม แตกต่างก ันอย่างมีนัยสำค ัญทางสถิติ ที่

ระดับ  ๐.๐๕  ซึ่งยอมรับสมมติ ฐานที่ตั้งไว้และคร ูพระสอนศี ลธรรมที่มี พรรษาต่างกันมีวุฒิการศึกษา

ทางบาลีต่างก ัน และมีประสบการณ์การสอนศีลธรรมในโรงเร ียนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของ

คร ูพระสอนศีลธรรมที่มีต่อการส ่งเสร ิมจริยธรรมในโรงเร ียนมัธยมศึกษา โดยภาพรวมแตกต่างก ั น

อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ  ๐.๐๕

๓. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ คือครูพระสอนศีลธรรมบางส่วนย ังขาดความชำนาญใน

การจัดการเร ียนการสอนควรหมันฝ ึกฝน หมั นศึกษาหาความรู้เทคนิควิธีการในการจ ัดการเร ียนการ

สอนที่มีประส ิทธิภาพควรตืนตัว และเ ป ็ นผู ้นาส าค ั ญในการสนับสนุนส่งเสร ิมกิจกรรมทางจร ิยธรรม

ทุกกิจกรรมให้มากขึ ้ นควรมีบทบาทสำคัญในการห้คำแนะนาทางคุณธรรมจร ิ ยธรรมต่างๆ ในฐานะ

ผู ้ นำทางศาสนาควรมีจิตวิญญาณของนักบร ิหารในการประสานความร ่วมมือระหว่างโรงเร ียนชุมชน

วัดในการจัดกิจกรรมร ่วมกัน เพื ่อการอยู ่ร ่ วมก ันอย่างมีความส ุข

 ดาวน์โหลด

 
 
สงวนลิขสิทธ์โดยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ 
พัฒนาและดูแลโดย : webmaster@mcu.ac.th 
ปรับปรุงครั้งล่าสุดวันพฤหัสบดี ที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕